Aller au contenu principal

รายชื่อภัยพิบัติและอุบัติเหตุในประเทศไทย


รายชื่อภัยพิบัติและอุบัติเหตุในประเทศไทย



รายชื่อด้านล่างนี้ยังไม่สมบูรณ์ คุณสามารถช่วยโดยเพิ่มเติมรายชื่อให้สมบูรณ์ขึ้นได้

ข้อมูลต่อไปนี้เป็นรายชื่อเหตุการณ์ภัยพิบัติทั้งที่เกิดจากธรรมชาติและด้วยมนุษย์ที่เกิดขึ้นในประเทศไทย (ตัวเลขนี้อาจเป็นการประมาณ) เพื่อรวบรวมเหตุการณณ์ซึ่งเป็นที่สนใจในสังคม และอาจส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงในสังคม

ภัยพิบัติทางธรรมชาติ

อุบัติเหตุและภัยพิบัติจากมนุษย์

รายชื่ออุบัติเหตุและภัยพิบัติ ซึ่งไม่ได้มีสาเหตุจากภัยธรรมชาติ ไม่ว่าจะมีผู้เสียชีวิตหรือไม่

อุบัติเหตุทางถนน

อุบัติเหตุทางรถไฟและรถไฟฟ้า

อุบัติเหตุทางน้ำ

อุบัติเหตุทางการบิน

อุบัติเหตุเพลิงไหม้

อุบัติเหตุระเบิด

อุบัติเหตุเหยียบกันตาย

อุบัติเหตุเกี่ยวกับสิ่งก่อสร้าง

อุบัติเหตุเกี่ยวกับอุสาหกรรม

อุบัติเหตุเกี่ยวกับรังสี

การก่อวินาศกรรม ลอบสังหาร หรือฆาตกรรม

รายชื่อการก่อวินาศกรรม ลอบสังหาร หรือฆาตกรรม โดยมีความมุ่งหมายต่อชีวิต หรือทรัพย์สิน ทั้งนี้ไม่รวมภัยจากสงคราม

ภัยสงคราม

ภายหลังสงครามโลกครั้งที่สองประเทศไทยเคยประกาศภัยสงครามในปี พ.ศ. 2554

  • 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 ถึง 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 - เกิดภัยสงครามสงครามระหว่างไทยกับกัมพูชา ทางการไทยมีผู้เสียชีวิต 19 ราย

รายชื่อสงครามอื่น ๆ

  • ความขัดแย้งของคอมมิวนิสต์ในประเทศไทย พ.ศ. 2508 – 2526
  • เหตุปะทะชายแดนไทย–เวียดนาม (สมรภูมิช่องบก) พ.ศ. 2522 - 2532
  • สมรภูมิบ้านร่มเกล้า ธันวาคม 2530 – 19 กุมภาพันธ์ 2531

ภัยมลพิษ

กรีนพีซระบุว่ากรุงเทพมหานครมีระดับฝุ่นเกินเกณฑ์มาตรฐานใหม่ขององค์การอนามัยโลก 4.2 เท่าซึ่งส่งผลให้ประชากรป่วยด้วยโรคภูมิแพ้ โรคหัวใจขาดเลือดและโรคหลอดเลือดสมอง

Collection James Bond 007

ภัยโรคระบาด

ในปี พ.ศ. 2528 ประเทศไทยมีการบันทึกการเสียชีวิตจากโรคระบาดอย่างเป็นทางการและเชื่อถือได้โดยมีผู้เสียชีวิต 40 รายจากโรคไข้หวัดใหญ่​

ในปี พ.ศ. 2545 - 2546 กลุ่มอาการทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง​ ประเทศไทยมีผู้เสียชีวิต 2 ราย

ในปี พ.ศ. 2547 - 2549 โรคไข้หวัดนกระบาดในประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตรวม 17 รายแบ่งเป็นเดือนมกราคมถึงตุลาคม พ.ศ. 2547 เสียชีวิต 12 ราย

เดือนกรกฏา​คมถึงพฤศจิกายน​ พ.ศ. 2548 เสียชีวิต 2 ราย

เดือนมิถุนายนถึงกรกฎาคม​ พ.ศ. 2549 เสียชีวิต 3 ราย

ในปี พ.ศ. 2552 การระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009​ ประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตในปีนั้น 81 ราย

เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2558 ถึง กรกฎาคม​ พ.ศ. 2559 ประเทศไทยพบผู้เป็นโรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง ​3 ราย

วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2566 การระบาดของฝีดาษลิง พ.ศ. 2565 พบผู้ติดเชื้อฝีดาษลิงในไทยรายที่ 91

ใน เดือน มีนาคม พ.ศ. 2563 ถึง 2 มีนาคม พ.ศ. 2567 มีผู้เสียชีวิตจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จำนวนที่เป็นทางการ 34,569 ราย และมีผู้เสียชีวิตภายหลังฉีดวัคซีนโควิด-19 6 ราย

ภัยจากอากาศร้อนจัด

ระหว่างวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2567 ถึง 30 เมษายน พ.ศ. 2567 กรมควบคุมโรครายงานว่าคนไทยเสียชีวิตเพราะอากาศร้อน 30 ราย

ในวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2567 อากาศร้อนจัด ส่งผลให้รางรถไฟช่วงสถานีร่อนพิบูลย์-ช่องเขา อำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช เกิดการขยายตัวและเกิดแรงเค้น (stress) ภายในรางสูงมากขึ้น เป็นเหตุให้แนวรางรถไฟมีลักษณะคดงอ ไม่สามารถเดินรถไฟได้ เจ้าหน้าที่การรถไฟและมูลนิธิสยามรวมใจปู่อินทร์ ต้องใช้น้ำและน้ำแข็งเพื่อบรรเทาความร้อนร่วม 1 ชั่วโมง รางรถไฟจึงกลับสู่สภาพเดิม

อ้างอิง

  • บันทึกเหตุการณ์ดินถล่ม เก็บถาวร 2020-07-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน

ดูเพิ่ม

  • รายชื่อของการสังหารหมู่ในประเทศไทย
  • ยอดผู้เสียชีวิตจากยานพาหนะในประเทศไทยแบ่งตามปี
  • อาชญากรรมในประเทศไทย
  • ประวัติศาสตร์ไทยหลัง พ.ศ. 2544
  • รายชื่ออุบัติเหตุและภัยพิบัติแยกตามจำนวนผู้เสียชีวิตในไทย

Text submitted to CC-BY-SA license. Source: รายชื่อภัยพิบัติและอุบัติเหตุในประเทศไทย by Wikipedia (Historical)


PEUGEOT 205